สวัสดีครับ วันนี้ฟาร์มไทนแลนด์ จะขอพูดถึงเรื่อง การวางแผนก่อนการเพาะปลูก
โดยสมัยนี้ในปัจจุบันผู้คนเริ่มที่จะกลับเข้าไปทำงานภาคเกษตรกรรมกันมากขึ้นอีกครั้ง
การวางแผน สู่ตลาดเกษตรกรรม
ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคนที่เป็นคนวัยเกษียณที่ไม่อยากจะอยู่บ้านเฉยๆเพียงอย่างเดียว อยากมีความสุขกับการทำงานทำอาชีพเกษตรกรรม
ผมเองได้สัมผัสกับคนกลุ่มนี้มาหลายคนและเค้าก็มีความคิดแบบเดียวกัน
เค้าบอกว่าอิสระดีไม่ต้องเร่งรีบ ทำแบบพอประมาณ หรือยึดเป็นอาชีพหลักไปเลย
ผมจึงถามว่าแล้วท่านคิดจะทำเกษตรท่านมีตลาดเกษตรกรรมรองรับแล้วหรือยัง
หลายคนถึงกับงงแล้วถามกลับมาว่าก็ปลูกผัก ผลไม้ไปขายตามตลาดทั่วๆไปก็ได้
แสดงว่าเขาทั้งหลายยังไม่มีแนวทางหรือรู้จักช่องทางตลาดเกษตรกรรมอย่างแท้จริง
วันนี้ผมจึงนำท่านผู้อ่านที่อาจจะมีความรู้เรื่องนี้ดี
หรือท่านที่ไม่เคยรู้มาดูช่องทางตลาดเกษตรกรรมในบ้าน(ประเทศไทย)
นะครับว่ามีแนวทางไหนบ้างที่เกษตรกรจะนำสินค้าทางการเกษตรไปขายได้
- ติดต่อกับเจ้าประจำ
อาจจะเป็นพ่อค้าแม่ค้าคนกลางที่รับซื้อสินค้าจากเราไปขายยังตลาดเกษตรกรรมขนาดใหญ่
อย่างบ้านเราก็ตลาดสี่มุมเมืองนั่นเองครับแบบนี้เราจะขายได้แน่นอนแต่ราคาอาจจะต่ำกว่าท้องตลาดไปเยอะ
แต่เราหมดเรื่องกังวลว่าจะขายไม่ได้
- ติดต่อกับเจ้าของร้านอาหาร
ภัตตาคารที่ต้องการวัตถุดิบสำหรับประกอบอาหารโดยตรงแบบนี้จะได้ราคาที่ดีกว่าเพราะเราเป็นคนกำหนดราคาได้เอง เหล่านี้เป็นต้น
หรือสร้างแบรนด์ของตัวเองแบบนี้อาจจะใช้เวลาแต่หากเทียบกันแล้วจะเป็นที่รู้จักมากขึ้นและจะเป็นที่จดจำได้ง่ายกว่าการขายทั่วไป
นี่คือเบื้องต้นที่พอจะเป็นแนวทางให้ท่านผู้อ่านได้นะครับ
- ขายเองโดยเช่าแผงแหล่งค้าขายหรือตลาดเกษตรกรรมในพื้นที่เช่น ตลาดกลางเกษตรเหล่านี้เป็นต้น
- รวมกลุ่มเพื่อจัดทำสินค้า
หรือสร้างแบรนด์ของตัวเองแบบนี้อาจจะใช้เวลาแต่หากเทียบกันแล้วจะเป็นที่รู้จักมากขึ้น
และจะเป็นที่จดจำได้ง่ายกว่าการขายทั่วไป
- วางแผนเพาะปลูก สู่ ตลาดเกษตรกรรม
นี่คือเบื้องต้นที่พอจะเป็นแนวทางให้ท่านผู้อ่านได้นะครับ การวางแผนการทำเกษตรแบบค้าขายหรือยึดเป็นอาชีพหลัก
ต่างกับการทำการเกษตรแบบพอเพียงหรือการทำเพื่อใช้กินเองเพราะจ ะต้องหาตลาดที่เราคิดว่าจะรับผลผลิตของเราได้ก่อนเพื่อลดความเสี่ยง
หากว่าเราปลูกพืชโดยไม่รู้เลยว่าจะขายที่ ไหน อย่างไร ราคาจะเท่าไหร่แบบนี้
และขณะนั้นราคาดีมีผลผลิตจากที่อื่นน้อย มีความต้องการมาก ถือว่าเป็นโชคดีของท่าน
แต่หากผลผลิตออกมาเยอะ คนต้องการซื้อน้อย ความเสี่ยงที่จะขายไม่ได้และขาดทุนนั้นมีมาก
เกษตรรายใหญ่ๆเค้าจึงมีคู่ค้าหรือลูกค้าที่รองรับผลผลิตของเราก่อนทุกครั้งที่จะลงมมือปลูก
เราเป็นมือใหม่จะทำอย่างไรหลายคนสงสัย เราต้องกล้าที่จะเดินไปหาลูกค้าครับและเราต้องมั่นใจในการผลิตพืชผลทางการเกษตรของเรา
หากเรารอให้คนซื้อเข้ามาหาเราอาจจะไม่ทันการณ์หรือไม่มีใครเข้า ทำให้เสียดุลการค้าในส่วนของการตลาดไปอย่างแน่นอนครับ
Comments
comments
วางแผนก่อนเพาะปลูก สู่ ตลาดเกษตรกรรม
สวัสดีครับ วันนี้ฟาร์มไทนแลนด์ จะขอพูดถึงเรื่อง การวางแผนก่อนการเพาะปลูก โดยสมัยนี้ในปัจจุบันผู้คนเริ่มที่จะกลับเข้าไปทำงานภาคเกษตรกรรมกันมากขึ้นอีกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคนที่เป็นคนวัยเกษียณที่ไม่อยากจะอยู่บ้านเฉยๆเพียงอย่างเดียว อยากมีความสุขกับการทำงานทำอาชีพเกษตรกรรม ผมเองได้สัมผัสกับคนกลุ่มนี้มาหลายคนและเค้าก็มีความคิดแบบเดียวกัน เค้าบอกว่าอิสระดีไม่ต้องเร่งรีบ ทำแบบพอประมาณ หรือยึดเป็นอาชีพหลักไปเลย ผมจึงถามว่าแล้วท่านคิดจะทำเกษตรท่านมีตลาดเกษตรกรรมรองรับแล้วหรือยัง หลายคนถึงกับงงแล้วถามกลับมาว่าก็ปลูกผัก ผลไม้ไปขายตามตลาดทั่วๆไปก็ได้ แสดงว่าเขาทั้งหลายยังไม่มีแนวทางหรือรู้จักช่องทางตลาดเกษตรกรรมอย่างแท้จริง วันนี้ผมจึงนำท่านผู้อ่านที่อาจจะมีความรู้เรื่องนี้ดี หรือท่านที่ไม่เคยรู้มาดูช่องทางตลาดเกษตรกรรมในบ้าน(ประเทศไทย) นะครับว่ามีแนวทางไหนบ้างที่เกษตรกรจะนำสินค้าทางการเกษตรไปขายได้ - ติดต่อกับเจ้าประจำ อาจจะเป็นพ่อค้าแม่ค้าคนกลางที่รับซื้อสินค้าจากเราไปขายยังตลาดเกษตรกรรมขนาดใหญ่ อย่างบ้านเราก็ตลาดสี่มุมเมืองนั่นเองครับแบบนี้เราจะขายได้แน่นอนแต่ราคาอาจจะต่ำกว่าท้องตลาดไปเยอะ แต่เราหมดเรื่องกังวลว่าจะขายไม่ได้ - ติดต่อกับเจ้าของร้านอาหาร ภัตตาคารที่ต้องการวัตถุดิบสำหรับประกอบอาหารโดยตรงแบบนี้จะได้ราคาที่ดีกว่าเพราะเราเป็นคนกำหนดราคาได้เอง เหล่านี้เป็นต้น หรือสร้างแบรนด์ของตัวเองแบบนี้อาจจะใช้เวลาแต่หากเทียบกันแล้วจะเป็นที่รู้จักมากขึ้นและจะเป็นที่จดจำได้ง่ายกว่าการขายทั่วไป นี่คือเบื้องต้นที่พอจะเป็นแนวทางให้ท่านผู้อ่านได้นะครับ - ขายเองโดยเช่าแผงแหล่งค้าขายหรือตลาดเกษตรกรรมในพื้นที่เช่น ตลาดกลางเกษตรเหล่านี้เป็นต้น - รวมกลุ่มเพื่อจัดทำสินค้า หรือสร้างแบรนด์ของตัวเองแบบนี้อาจจะใช้เวลาแต่หากเทียบกันแล้วจะเป็นที่รู้จักมากขึ้น และจะเป็นที่จดจำได้ง่ายกว่าการขายทั่วไป วางแผนเพาะปลูก สู่ ตลาดเกษตรกรรมนี่คือเบื้องต้นที่พอจะเป็นแนวทางให้ท่านผู้อ่านได้นะครับ การวางแผนการทำเกษตรแบบค้าขายหรือยึดเป็นอาชีพหลัก ต่างกับการทำการเกษตรแบบพอเพียงหรือการทำเพื่อใช้กินเองเพราะจ ะต้องหาตลาดที่เราคิดว่าจะรับผลผลิตของเราได้ก่อนเพื่อลดความเสี่ยง หากว่าเราปลูกพืชโดยไม่รู้เลยว่าจะขายที่ ไหน อย่างไร ราคาจะเท่าไหร่แบบนี้ และขณะนั้นราคาดีมีผลผลิตจากที่อื่นน้อย มีความต้องการมาก ถือว่าเป็นโชคดีของท่าน แต่หากผลผลิตออกมาเยอะ คนต้องการซื้อน้อย ความเสี่ยงที่จะขายไม่ได้และขาดทุนนั้นมีมาก เกษตรรายใหญ่ๆเค้าจึงมีคู่ค้าหรือลูกค้าที่รองรับผลผลิตของเราก่อนทุกครั้งที่จะลงมมือปลูก เราเป็นมือใหม่จะทำอย่างไรหลายคนสงสัย เราต้องกล้าที่จะเดินไปหาลูกค้าครับและเราต้องมั่นใจในการผลิตพืชผลทางการเกษตรของเรา หากเรารอให้คนซื้อเข้ามาหาเราอาจจะไม่ทันการณ์หรือไม่มีใครเข้า ทำให้เสียดุลการค้าในส่วนของการตลาดไปอย่างแน่นอนครับ
User Rating: 4.65 ( 1 votes)
0